วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2551
การสร้างจดหมายเวียน
การสร้างจดหมายเวียนของ Word ด้วยข้อมูลของ Excel
นำไปใช้กับ: Microsoft Office Excel 2003
1). ในโปรแกรม Microsoft Excel ให้ตั้งค่าข้อมูลที่จะใช้ในจดหมายเวียน
1.1> ตรวจสอบให้แน่ใจว่าข้อมูลนั้นอยู่ในรูปแบบรายการ (รายการ: ชุดของแถวซึ่งมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันหรือชุดของแถวที่คุณกำหนดเพื่อให้ทำหน้าที่เป็นแผ่นข้อมูลโดยใช้คำสั่ง สร้างรายการ) ซึ่งหมายความว่าแต่ละคอลัมน์จะมีป้ายชื่อวางอยู่ในแถวแรก และมีข้อมูลรายละเอียดประเภทเดียวกันอยู่ในคอลัมน์นั้น และห้ามมีแถวว่างเปล่า หรือคอลัมน์ว่างเปล่าอยู่ภายในรายการ คุณจะใช้ป้ายชื่อคอลัมน์ในการระบุตำแหน่งการเดินทางของข้อมูลในจดหมายเวียน
1.2> ตรวจสอบให้แน่ใจว่าป้ายชื่อคอลัมน์ระบุให้ทราบอย่างชัดเจนว่ามีข้อมูลชนิดใดบ้างอยู่ในคอลัมน์นั้น ซึ่งจะช่วยให้คุณเลือกข้อมูลที่ถูกต้องขณะทำการสร้างจดหมายเวียน ตัวอย่างเช่น การใช้ป้ายชื่อ ชื่อแรก ชื่อสกุล ที่อยู่ และ เมือง จะดีกว่าการใช้ป้ายชื่อ คอลัมน์ 1 คอลัมน์ 2 คอลัมน์ 3 และ คอลัมน์ 4
1.3> ตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณเตรียมคอลัมน์แยกไว้ต่างหากแล้วเพื่อใส่องค์ประกอบแต่ละอย่างไว้ในจดหมายเวียน ตัวอย่างเช่น ถ้าคุณจะสร้างแบบฟอร์มจดหมายที่มีชื่อต้นของผู้รับแต่ละคนวางไว้ในส่วนเนื้อความของจดหมายนั้น คุณต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าคุณมีคอลัมน์ใส่ชื่อต้นเพียงอย่างเดียว ไม่ใช่มีทั้งชื่อแรกและชื่อสกุลรวมอยู่ในคอลัมน์เดียวกัน ถ้าคุณต้องการระบุผู้รับแต่ละคนโดยใช้ชื่อแรกและชื่อสกุล เช่น Mr. Smith คุณสามารถใส่ชื่อนำหน้าและชื่อสกุลไว้ในคอลัมน์เดียวกันได้ หรือจะใช้คอลัมน์หนึ่งสำหรับใส่ชื่อแรก และใช้อีกคอลัมน์หนึ่งสำหรับใส่ชื่อสกุลก็ได้เช่นกัน
เ 1.4> มื่อต้องการทำให้รายการให้ง่ายต่อการค้นหาเมื่อคุณเลือกรายการนั้นเพื่อใช้กับจดหมายเวียน ก็ให้ตั้งชื่อ (ชื่อ: คำหรือสายอักขระที่ใช้แสดงแทนเซลล์ ช่วงของเซลล์ สูตร หรือค่าคงที่ ให้ใช้ชื่อที่ง่ายต่อการเข้าใจ เช่น Products เพื่ออ้างถึงช่วงซึ่งยากที่จะเข้าใจ เช่น Sales!C20:C30)รายการนั้นด้วยวิธีดังต่อไปนี้
วิธีการ
เลือกทั้งรายการ
บนเมนู แทรก ให้ชี้ไปที่ ชื่อ แล้วคลิก กำหนด
พิมพ์ชื่อสำหรับรายการนั้น
คลิก เพิ่ม จากนั้นคลิก ปิด
2). บันทึกแล้วปิดสมุดงานที่มีข้อมูลอยู่
3). สลับไปที่โปรแกรม Microsoft Word
4). บนเมนู เครื่องมือ ให้ชี้ไปที่ จดหมายและเมล จากนั้นคลิก ตัวช่วยสร้างจดหมายเวียน
5). ในสองขั้นตอนแรกของตัวช่วยสร้างจดหมายเวียน ให้เลือกชนิดเอกสารและเริ่มต้นเอกสารนั้น หากคุณจะสร้างป้ายชื่อผนึกหมายเวียน ให้คลิก ป้ายชื่อ ในขั้นตอนที่ 1 จากนั้นคลิก ตัวเลือกป้ายชื่อ ในขั้นตอนที่ 2 เพื่อเลือกขนาดและชนิดของป้ายชื่อที่จะพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์
สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นตอนเหล่านี้ของตัวช่วยสร้าง ให้ดูจากหัวข้อวิธีใช้ใน Word
6). ในขั้นตอนที่สามของตัวช่วยสร้าง ให้คลิก ใช้รายการที่มีอยู่ ภายใต้ เลือกผู้รับ จากนั้นคลิก เรียกดู
7). ในรายการ มองหาใน ให้คลิกโฟลเดอร์ที่คุณได้บันทึกสมุดงานไว้ด้วยข้อมูลของคุณ แล้วคลิกสมุดงานนั้น จากนั้นคลิก เปิด
8). ในกล่องโต้ตอบ เลือกตาราง ให้หาตำแหน่งที่ตั้งและคลิกรายการของคุณ จากนั้นตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้เลือกกล่องกาเครื่องหมาย มีหัวเรื่องคอลัมน์ในแถวแรกของข้อมูล แล้วคลิก ตกลง
9). ในกล่องโต้ตอบ ผู้รับจดหมายเวียน ให้คลิกป้ายชื่อคอลัมน์ใดก็ได้ในข้อมูลของคุณที่สัมพันธ์กับชื่อเขตข้อมูลในเอกสาร Word ขั้นตอนนี้จะช่วยให้การแทรกข้อมูลของคุณลงในเอกสารแบบฟอร์มง่ายขึ้น สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเขตข้อมูลที่มีชื่อตรงกับป้ายชื่อคอลัมน์ ให้ดูจากหัวข้อวิธีใช้ใน Word
10). ถ้าคุณต้องการใส่เฉพาะชื่อผู้รับที่เลือกไว้ไว้ในจดหมายเวียนเท่านั้น ให้คลิก แก้ไขรายชื่อผู้รับ แล้วเลือกชื่อผู้รับที่ต้องการ
11). ใช้ขั้นตอนที่เหลือของตัวช่วยสร้างเพื่อเขียนข้อความ เพิ่มข้อมูลผู้รับ แสดงตัวอย่าง ปรับให้มีรูปแบบเฉพาะตัว บันทึก และพิมพ์เอกสาร หรือส่งเอกสารทางอีเมล ถ้าต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นตอนเหล่านี้ของตัวช่วยสร้าง ให้ดูจากหัวข้อวิธีใช้ใน Word
หมายเหตุ
-- ขณะที่ Word เปิดสมุดงานไว้เพื่อสร้างจดหมายเวียน คุณจะไม่สามารถเปิดสมุดงานใน Excel ได้ ถ้าต้องการดูข้อมูลและป้ายชื่อคอลัมน์ของสมุดงานนั้น ให้ไปที่ขั้นตอนที่ 3 หรือ 5 ของตัวช่วยสร้าง แล้วคลิก แก้ไขรายชื่อผู้รับ
-- คุณสามารถใช้จดหมายเวียนที่มีข้อมูลของ Excel ซึ่งเป็นจดหมายเวียนที่สร้างขึ้นจาก Word รุ่นก่อนหน้านี้ต่อไปได้ เมื่อต้องการเปิดและใช้จดหมายเวียนเหล่านี้ใน Word 2002 หรือรุ่นที่ใหม่กว่า คุณจะต้องติดตั้ง Microsoft Query ซึ่งโปรแกรมนี้จะไม่จำเป็นต้องใช้อีกต่อไปในการสร้างจดหมายเวียนใหม่ใน Word 2002 หรือรุ่นที่ใหม่กว่า
แหล่งที่มา : http://office.microsoft.com/th-th/excel/HP052037601054.aspx
ประชาสัมพันธ์หลักสูตรคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ประวัติวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
จากหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ของวิทยาลัยการฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้พัฒนามาเป็นคณะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในปี 2527 ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยครู ฉบับที่ 2 ต่อมาในปี 2538 จึงได้เปลี่ยนสถานภาพมาเป็นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามประกาศ พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ ซึ่งนับได้ว่าคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้รับใช้สังคมไทยมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ด้วยการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพจำนวนมากออกไปรับใช้สังคม ปัจจุบันเปิดสอนมากกว่า 20 โปรแกรมวิชา ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ปรัชญา
" สร้างสรรค์งานวิจัย ใส่ใจเทคโนโลยี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำชาติเจริญ "
วิสัยทัศน์
เป็นผู้นำในการสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี และนักวิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาท้องถิ่น และสังคม
พันธกิจ
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ส่งเสริมการวิจัย ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุง และถ่ายทอดเทคโนโลยี บริการวิชาการแก่ชุมชน และสังคม
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ของโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทั้งหมด 6 ห้อง โดยมีการปรับปรุงทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยเสมอ และมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกทั้งกับผู้เรียนและผู้สอนอย่างครบครัน และทุกห้องสามารถเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อการสืบค้นข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก พร้อมทั้งได้มีอินเทอร์เน็ต แบบไร้สายอยู่ทั่วบริเวณมหาวิทยาลัยไว้สำหรับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ของนักศึกษา ที่นำมาประกอบการศึกษาทั้งนี้อาจารย์โปรแกรมจำวิชา ทุกท่านล้วนแต่ผู้มีวิชาความรู้ครบถ้วน
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคปกติ 4 ปี
โปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรีหลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor’s Degree Program of Business Administration in Business Computerชื่อปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารธุรกิจระดับ วิชาชีพ (Professional) และนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ เช่นด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบัญชี การเงินและการธนาคาร การตลาด การบริหารอุตสาหกรรม เลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการคุณภาพธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจบริการ สามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี และทักษะเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม
4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สนองความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. เพื่อให้บัณฑิตสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางการศึกษาในระดับสูงต่อไปโครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 149 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต
1500101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 9 หน่วยกิต
1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0)
2000102 สุรทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500102 วิถีไทย 3(3-0)
2500103 วิถีโลก 3(3-0)
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต
4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0)
4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0)
4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2) 2
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 106 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 84 หน่วยกิต
บังคับเรียน 47 หน่วยกิต
1541203 ภาษาไทยธุรกิจ 3(3-0)
1551605 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0)
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
2562302 กฎหมายธุรกิจ 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3521101 การบัญชี 1 3(2-2)
3521102 การบัญชี 2 3(2-2)
3531101 การเงินธุรกิจ 3(3-0)
3541101 หลักการตลาด 3(3-0)
3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 2(2-0)
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3(3-0)
3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
4112105 สถิติธุรกิจ 3(3-0)
(2) แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 37 หน่วยกิต
2.1 บังคับเรียน 18 หน่วยกิต
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
2.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต [เรียน 7 วิชา]
3501201 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 1 3(2-2)
3501202 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 2 3(2-2)
3502201 ระบบสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน 3(2-2)
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504203 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3(2-2)
3504204 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 3(2-2)
3534106 โปรแกรมประยุกต์ทางการเงิน 3(3-0)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3563204 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3564908 สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4121401 ระบบปฎิบัติการ 1 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122304 โปรแกรมภาษาซี 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123303 โปรแกรมภาษาปาสคาล 2 3(2-2)
4123304 โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123617 การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
(3) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 15 หน่วยกิต
3532202 การภาษีอากรธุรกิจ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3561101 องค์การและการจัดการ 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หน่วยกิต
3503813 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 2(90)
3504804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 5(350)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 10 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 ปี หลังอนุปริญญาโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor of Business Administration Program in Business Computerชื่อ ปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ
4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรม
โครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2)และ/หรือ
4000108 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต
1.1 บังคับเรียน 24 หน่วยกิต
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)
4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไป
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1
3521101 การบัญชี 1 3521102 การบัญชี 2
4112105 สถิติธุรกิจ 3531101 การเงินธุรกิจ
3541101 หลักการตลาด
ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 9 หน่วยกิต
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุ
ปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์กาสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน
(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต
3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(90)
3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(210)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิตใ
ห้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้
จากหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ของวิทยาลัยการฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้พัฒนามาเป็นคณะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในปี 2527 ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยครู ฉบับที่ 2 ต่อมาในปี 2538 จึงได้เปลี่ยนสถานภาพมาเป็นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามประกาศ พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ ซึ่งนับได้ว่าคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้รับใช้สังคมไทยมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ด้วยการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพจำนวนมากออกไปรับใช้สังคม ปัจจุบันเปิดสอนมากกว่า 20 โปรแกรมวิชา ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ปรัชญา
" สร้างสรรค์งานวิจัย ใส่ใจเทคโนโลยี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำชาติเจริญ "
วิสัยทัศน์
เป็นผู้นำในการสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี และนักวิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาท้องถิ่น และสังคม
พันธกิจ
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ส่งเสริมการวิจัย ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุง และถ่ายทอดเทคโนโลยี บริการวิชาการแก่ชุมชน และสังคม
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ของโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทั้งหมด 6 ห้อง โดยมีการปรับปรุงทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยเสมอ และมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกทั้งกับผู้เรียนและผู้สอนอย่างครบครัน และทุกห้องสามารถเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อการสืบค้นข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก พร้อมทั้งได้มีอินเทอร์เน็ต แบบไร้สายอยู่ทั่วบริเวณมหาวิทยาลัยไว้สำหรับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ของนักศึกษา ที่นำมาประกอบการศึกษาทั้งนี้อาจารย์โปรแกรมจำวิชา ทุกท่านล้วนแต่ผู้มีวิชาความรู้ครบถ้วน
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคปกติ 4 ปี
โปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรีหลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor’s Degree Program of Business Administration in Business Computerชื่อปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารธุรกิจระดับ วิชาชีพ (Professional) และนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ เช่นด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบัญชี การเงินและการธนาคาร การตลาด การบริหารอุตสาหกรรม เลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการคุณภาพธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจบริการ สามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี และทักษะเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม
4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สนองความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. เพื่อให้บัณฑิตสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางการศึกษาในระดับสูงต่อไปโครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 149 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต
1500101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 9 หน่วยกิต
1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0)
2000102 สุรทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500102 วิถีไทย 3(3-0)
2500103 วิถีโลก 3(3-0)
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต
4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0)
4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0)
4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2) 2
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 106 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 84 หน่วยกิต
บังคับเรียน 47 หน่วยกิต
1541203 ภาษาไทยธุรกิจ 3(3-0)
1551605 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0)
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
2562302 กฎหมายธุรกิจ 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3521101 การบัญชี 1 3(2-2)
3521102 การบัญชี 2 3(2-2)
3531101 การเงินธุรกิจ 3(3-0)
3541101 หลักการตลาด 3(3-0)
3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 2(2-0)
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3(3-0)
3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
4112105 สถิติธุรกิจ 3(3-0)
(2) แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 37 หน่วยกิต
2.1 บังคับเรียน 18 หน่วยกิต
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
2.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต [เรียน 7 วิชา]
3501201 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 1 3(2-2)
3501202 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 2 3(2-2)
3502201 ระบบสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน 3(2-2)
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504203 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3(2-2)
3504204 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 3(2-2)
3534106 โปรแกรมประยุกต์ทางการเงิน 3(3-0)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3563204 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3564908 สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4121401 ระบบปฎิบัติการ 1 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122304 โปรแกรมภาษาซี 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123303 โปรแกรมภาษาปาสคาล 2 3(2-2)
4123304 โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123617 การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
(3) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 15 หน่วยกิต
3532202 การภาษีอากรธุรกิจ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3561101 องค์การและการจัดการ 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หน่วยกิต
3503813 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 2(90)
3504804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 5(350)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 10 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 ปี หลังอนุปริญญาโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor of Business Administration Program in Business Computerชื่อ ปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ
4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรม
โครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2)และ/หรือ
4000108 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต
1.1 บังคับเรียน 24 หน่วยกิต
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)
4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไป
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1
3521101 การบัญชี 1 3521102 การบัญชี 2
4112105 สถิติธุรกิจ 3531101 การเงินธุรกิจ
3541101 หลักการตลาด
ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 9 หน่วยกิต
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุ
ปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์กาสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน
(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต
3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(90)
3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(210)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิตใ
ห้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้
วันอังคารที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นางสาวพัชรสรวง ไพเราะ 4934408025
ชื่อเล่น จอย (มะเหม่ง)
Mobile : 083-5432-661
E-mail : phat.s.8025@gmail.com
J_O_Y_O_Y@hotmail.com
nj_andme@hotmail.com
E-mail : phat.s.8025@gmail.com
J_O_Y_O_Y@hotmail.com
nj_andme@hotmail.com
ตอนนี้ก้อเรียนภาคค่ำด้วยใกล้จาจบแล้วอ่ะ
ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จ (ความหวังของแม่ใกล้จาบรรลุแล้วอ่ะ)
สถานภาพปัจจุบัน...โสด...
จำนวนพี่น้อง 2 คน เป็นคนโตกะน้องสาวอีก 1 คน
เกิดวันศุกร์ที่ 23 เมษายน 2525
เกิดราศีเมษ (หน้าร้อน)
เป็นคนใจร้อน (ในบางครั้งอ่ะ) แต่ส่วนใหญ่ก้อใจเย็น, เรื่อย ๆ อ่ะ
นิสัยร่าเริง คุยมะค่อยเก่งเท่าไหร่ บางทีก้อเฉย ๆ นิ่ง ๆ
ชอบสีขาว, ชมพู, ฟ้า, เขียว
ชอบทานอาหารรสไม่ค่อยจัด (แต่มะถึงกะจืด)
งานอดิเรกชอบตกแต่งรูปภาพ photo shop
- เล่นคอม, เข้าเน็ต, อยู่กะครอบครัว
ชอบอ่านหนังสือประเภทบันเทิง แต่ให้ข้อคิด
- ไม่ชอบอ่านหนังสือสยองขวัญ, ฆาตกรรม
ชอบแต่งตัวแนวคล่องตัว ไม่ชอบแนวหวาน ๆ สักเท่าไหร่
ที่มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จ (ความหวังของแม่ใกล้จาบรรลุแล้วอ่ะ)
สถานภาพปัจจุบัน...โสด...
จำนวนพี่น้อง 2 คน เป็นคนโตกะน้องสาวอีก 1 คน
เกิดวันศุกร์ที่ 23 เมษายน 2525
เกิดราศีเมษ (หน้าร้อน)
เป็นคนใจร้อน (ในบางครั้งอ่ะ) แต่ส่วนใหญ่ก้อใจเย็น, เรื่อย ๆ อ่ะ
นิสัยร่าเริง คุยมะค่อยเก่งเท่าไหร่ บางทีก้อเฉย ๆ นิ่ง ๆ
ชอบสีขาว, ชมพู, ฟ้า, เขียว
ชอบทานอาหารรสไม่ค่อยจัด (แต่มะถึงกะจืด)
งานอดิเรกชอบตกแต่งรูปภาพ photo shop
- เล่นคอม, เข้าเน็ต, อยู่กะครอบครัว
ชอบอ่านหนังสือประเภทบันเทิง แต่ให้ข้อคิด
- ไม่ชอบอ่านหนังสือสยองขวัญ, ฆาตกรรม
ชอบแต่งตัวแนวคล่องตัว ไม่ชอบแนวหวาน ๆ สักเท่าไหร่
การสร้าง blog ด้วย blogger
การสร้างblogด้วยblogger
1. เข้าสมัครสมาชิกได้ที่เว็บไซต์ http://www.blogger.com/
2. คลิกที่เริ่มสร้างบล็อกที่ CREATE YOUR BLOG NOW
3. กรอกรายละเอียดส่วนตัว ชื่อล็อกอิน / รหัสผ่าน / ชื่อบล็อก / อีเมล์เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Continue
4. ระบุรายละเอียดของบล็อกBlog title : ระบุชื่อบล็อกBlog address (URL) : ชื่อยูอาแอลสำหรับเรียกใช้งาน http://arnut.blogpot.comWorld Verification : พิมพ์รหัสที่ระบบบอกมาเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Continue
5 . ระบบจะแสดง Template ให้เลือกใช้งานหลายแบบ ให้ทำการคลิกเลือก Template ที่ต้องการเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Continue
6 . ระบบแสดงข้อความกำลังทำการสร้าง blog ให้อยู่
7. ทำการสร้าง blog เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม START POSTING เพื่อทดสอบเข้าใช้งาน
8. พิมพ์รายละเอียดข้อความแรกในบล็อก หลังพิมพ์ฺเสร็จสามารถคลิก preview ดูผลก่อนได้ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Publish Post
9. เสร็จสิ้นการติดตั้งเว็บบล็อกให้คลิกที่ View Blog เพื่อดูผล
10. แสดงบล็อกส่วนตัวที่สร้างเสร็จแล้วสังเกต url ด้านบนจะเป็น http://arnut.blogspot.com/
11. ที่นี้กรณีที่ต้องการเขียน Blog เพิ่มเติม หรือเข้าไปแก้ไข Blog สามารถล็อกอินเข้าได้ที่http://www.blogger.com/start พิมพ์ชื่อ username / Password เสร็จแล้วคลิกปุ่ม SIGN IN เพื่อเข้าระบบ
12. จะเข้าสู่หน้าต่างผู้ดูแลบล็อกสำหรับแก้ไข และปรับแต่งข้อมูลต่างๆ ดังรูปทำการแก้ไขข้อมูลต่างๆ ตามต้องการเพียงเท่านี้เพื่อน ๆ ก็สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ด้วยตัวเอง แบบง่าย ๆและรวดเร็วได้แล้วครับสมัครทำ Blog ได้ที่ http://www.blogger.com/หาบทความภาษาอังกฤษ ฟรีๆ มาใส่ใน Blog ของคุณ จากที่...http://findarticles.com/http://www.articlecity.com/http://ezinearticles.com/http://www.goarticles.com/http://www.free-articles-zone.com/http://www.articleworld.net/http://www.amazines.com/http://www.isnare.com/http://www.articlesbase.com/http://en.wikipedia.org/wiki/Wikipedia:Unusual_articleshttp://www.freerepublic.com/ตัวอย่างเว็บไซต์ที่สร้างด้วย Blogger
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)